คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคเส้นเลือดสมองตีบ/แตก/อุดตัน ตั้งแต่เข้าโรงพยาบาลจนกลับบ้าน -โดยหมอสมอง
โรคเส้นเลือดสมองตีบ แตก หรืออุดตัน ล้วนเป็นโรคที่ผู้ป่วย จำเป็นต้องเข้าโรงพยาบาลแบบฉุกเฉินทั้งสิ้น เหตุเกิดปุบปับ ไม่ทันตั้งตัว ไม่ทันไรเข้านอนโรงพยาบาลฉุกเฉิน นอนวอร์ดผู้ป่วยโรคสมอง หรือถ้าหนักเข้าอาจถึงขั้นต้องนอนไอซียู
ปุบปับไม่ทันไรอีกที หมอแจ้งว่า ออกจากโรงพยาบาลได้แล้ว...
จึงเกิดคำถามมากมาย โดยผู้ป่วยและญาติ
บางครั้งยังไม่เข้าใจตัวโรค ไม่เข้าใจว่าเกิดอะไรขึ้น จะต้องรักษา ป้องกันอย่างไร ก็ต้องออกจากโรงพยาบาลเสียแล้ว บางครั้งหลายเสียงตอบรับ ฟีดแบกกลับมาถึงทีมแพทย์ พยาบาลว่า “ยังไม่พร้อม” แต่ก็ต้อง “ออกจากโรงพยาบาลแล้ว”
ด้วยข้อจำกัดหลายอย่าง
- เตียงโรงพยาบาลรัฐบาลที่มีจำกัด ผู้ป่วยโรคเส้นเลือดสมองตีบ แตกมีผู้ป่วยใหม่ทุกวัน ไม่สามารถรองรับผู้ป่วยได้พอ
- เตียงโรงพยาบาลเอกชน ก็มีค่าใช้จ่ายสูง(มาก) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มโรคเส้นเลือดสมองตีบ เส้นเลือดสมองแตกที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทางหลายหน่วย ค่าใช้จ่ายบิลออกมาจึงแพงมากตาม
ในมุมมองของหมอการดูแลระยะเปลี่ยนถ่ายจากโรงพยาบาลไปบ้าน >> จนเข้าสู่ >> การดูแลระยะต่อเนื่อง จึงเป็นสิ่งสำคัญมากๆ
เวบไซต์ “อยู่ดีมีสุข” เป็นความตั้งใจของหมอมิ้นท์ พญ.วรัชยา วลัยลักษณาภรณ์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสมองและระบบประสาท เฉพาะทางด้านโรคหลอดเลือดสมอง
เพื่อที่จะสร้างแหล่งความรู้ในการดูแลผู้ป่วย โดยรวบรวมข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ถูกต้องตามหลักการแพทย์ เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยนำไปปรับใช้ในช่วงเปลี่ยนถ่ายจากโรงพยาบาลไปบ้าน รวมถึงคลายข้อสงสัยปัญหาที่พบบ่อย เป็นคำตอบที่หมอใช้อธิบายคนไข้เมื่อมาปรึกษา เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยในระยะต่อเนื่องที่บ้าน เป็นไปได้ราบลื่น คลายความทุกข์ มีความสุขกันมากขึ้นค่ะ
สารบัญบทความข้อมูลที่จำเป็นสำหรับผู้ป่วยและผู้ดูแล
สโตรก คืออะไร
- โรคหลอดเลือดสมอง คืออะไร?
- มารู้จัก! โรคหลอดเลือดสมองและสัญญาณเตือน
- สงสัย หลอดเลือดสมองตีบ เช็คอาการที่นี่!
- เป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ จะหายเป็นปกติได้หรือไม่?
สโตรก มีกี่แบบ
- โรคหลอดเลือดสมอง มีกี่แบบ? ต้องแยกไปทำไม?
- ภาวะสมองขาดเลือดชั่วขณะ (TRANSIENT ISCHEMIC ATTACK) คืออะไร?
เส้นเลือดสมองตีบ เส้นเลือดสมองแตก อาการเป็นอย่างไร
- ป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยจะเป็นอย่างไร?
- พูดไม่ออก ฟังไม่เข้าใจ ปัญหาในคนไข้โรคหลอดเลือดสมอง
- 5 ปัญหาการพูด การสื่อสาร ที่พบบ่อย ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
- ภาวะกลืนลำบาก กลืนยากในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง เกิดจากอะไร ?
- ปัญหาปลายเท้าตก เดินลากเท้า ในผู้ป่วยอัมพาต
- ทรงตัวไม่ดี ล้มง่าย ปัญหาที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
- ปัญหาในชีวิตประจำวัน ในผู้ป่วยสโตรก ที่มีภาวะเพิกเฉยครึ่งซีก
- ภาวะเพิกเฉยครึ่งซีก ไม่ยอมขยับเพราะว่าขี้เกียจ ?
- เข้าใจปัญหาการขับปัสสาวะของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองไปตามสเต็ป
สโตรก เกิดจากอะไร
- โรคหลอดเลือดสมองเกิดจากอะไร ใครทำให้ฉันเป็น?
- ระดับไขมันในเลือดเป็นอย่างไร เสี่ยงหรือไม่กับการเกิดเส้นเลือดสมองตีบ?
เข้าใจการรักษาเส้นเลือดสมองตีบ เส้นเลือดสมองแตก
- ขั้นตอนการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน - ฉบับเต็ม
- ขั้นตอนการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน ที่ห้องฉุกเฉิน
- เป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ จะหายเป็นปกติได้หรือไม่?
- คู่มือการดูแล ผู้ป่วยสโตรกที่มีภาวะเพิกเฉยครึ่งซีก (Post stroke hemispatial neglect)
- เป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบแล้ว"จะป้องกัน"การเกิดโรคซ้ำอย่างไร
ยาที่ใช้ในผู้ป่วยเส้นเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (สโตรก)
- ข้อควรระวังในคนไข้ที่กินยาวาร์ฟาริน
- ข้อควรรู้ก่อนฉีดวัคซีนโควิด-19 ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
- ดูวิดีโอ "ข้อควรรู้ของการใช้ยาวาร์ฟาริน" โดยงานบริการเภสัชกรรมคลินิก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
การกายภาพฟื้นฟูผู้ป่วยสโตรก
- ข้อแนะนำ การกายภาพบำบัดหลังการรักษาในระยะเฉียบพลัน
- ทำกายภาพที่ไหนดี โรงพยาบาล vs. ศูนย์ดูแล vs. บ้าน
- เป็นสโตรคแล้วแขน ขา ลีบ รักษาอย่างไร?
- พร้อมแล้วเดิน! 2 วิธีทดสอบความพร้อมในการเริ่มฝึกเดิน
- คำแนะนำ การกายภาพฟื้นฟูสำหรับผู้ป่วยที่ทรงตัวไม่ดี หรือมีอาการเซ
- สรุปรวม! เข้าใจภาวะแขนขาเกร็งหลังจากเกิดอัมพาต
- เข้าใจ"ภาวะเข่าแอ่น"ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
- 5 เทคนิคเพื่อฝึกฝน ผู้ป่วยสโตรกที่มีภาวะเพิกเฉยครึ่งซีก
- การฝึกโดยใช้กระจก (Mirror Therapy)
- การบำบัดด้วยการใช้แว่นพริซึม (Prism adaptation therapy)
- วิธีการวัดไซส์อุปกรณ์ "สายพยุงกันไหล่ตก" ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
แนวทางการดูแลผู้ป่วยติดเตียง
- เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน ที่ทุกบ้านต้องมีติดไว้
- การจัดท่านอนสำหรับผู้ป่วยติดเตียง
- เคล็ด(ไม่)ลับ การจัดท่านั่ง สำหรับผู้ป่วยติดเตียง
- ภาวะแทรกซ้อนที่ต้องระวังในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง – สิ่งที่คนไข้และหมอไม่ต้องการ
- เทคนิคดูแลผู้ป่วยเสมหะเยอะ&วิธีทำกายภาพขับเสมหะ
- การดูแลสายสวนปัสสาวะผู้ป่วย
- คำแนะนำจากคุณหมอ "5 แนวทาง รับมือผู้สูงอายุปัสสาวะเล็ดราด ตอนนอน"
- การกำจัดกลิ่นฉี่ กลิ่นไม่พึงประสงค์ในการดูแลผู้สูงอายุ/ผู้ป่วยติดเตียง
- เทคนิคการดูแลการขับถ่ายผู้ป่วยติดเตียง-ป้องกันแผลกดทับ
- แก้ปัญหา-ท้องผูกในผู้ป่วยสูงวัยและผู้ป่วยติดเตียง
- วิธีจัดการปัญหา "ท้องผูก ปวดแน่นท้อง"ในผู้ป่วยโรคสโตรก
- การดูแลแผลเจาะคอ โดยSIPH
แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่รับอาหารทางสายยาง
- รู้หรือไม่ ทำไมต้องให้อาหารทางสายยาง ?
- ใครบ้างที่จำเป็นต้องให้อาหารทางสายยาง (NG TUBE)
- วิเคราะห์ปัญหากลืนลำบากในผู้ป่วยสโตรก ด้วยตนเอง
- ความรู้เบื้องต้น สำหรับมือใหม่ ให้อาหารทางสายยาง
- ข้อควรระวังในการให้อาหารทางสายยาง
- แนะนำข้อมูล-การใช้สายยางให้อาหารในผู้ป่วย
- Step by step : คู่มือขั้นตอนการใส่สายยางให้อาหารผู้ป่วยทางจมูก
- อุปกรณ์สำหรับใส่สายยางให้อาหารผู้ป่วยทางจมูก (พร้อมภาพประกอบ)
- 9เคล็ด(ไม่)ลับ การเตรียมตัวก่อนให้อาหารทางสายยาง
- มาเรียนรู้วิธีการให้อาหารทางสายยางกันเถอะ
- อาหารทางสายยาง มีกี่ประเภท จะเลือกใช้อย่างไร ?
- Q&A ญาติจำเป็นต้องซื้อ "เครื่องให้อาหารทางสายยาง" หรือไม่ ?
- เราจะทราบได้อย่างไรว่าปลายสายยางให้อาหารอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
- วิธีการล้างและนำถุงบรรจุอาหารเหลวทางการแพทย์กลับมาใช้ซ้ำ
- ภาวะแทรกซ้อนจากการให้อาหารทางสายยาง
- รู้ทัน!! อาการผิดปกติที่พบบ่อยในผู้ป่วยรับอาหารทางสายยาง
- Q&A ทำไมผู้ป่วยรับอาหารทางสายยางแล้วถึงอาเจียนบ่อย ?
- รู้ทัน ป้องกันได้ !! อาการสำลักขณะหรือหลังให้อาหารทางสายยาง
- คู่มือจัดการ ภาวะท้องอืดหลังผู้ป่วยได้รับอาหารทางสายยาง
- เปลี่ยนสูตรอาหารทางสายยางแล้ว "ท้องเสีย" เกิดจากอะไร?
- มาทำความรู้จัก "อาหารฝึกกลืน"
- เปรียบเทียบการให้อาหารทางสายยาง “ผ่านหน้าท้อง VS ผ่านทางจมูก”
- ข้อมูลเบื้องต้น-สายยางให้อาหารผ่านทางหน้าท้อง
ปัญหานอนไม่หลับ วุ่นวายในผู้ป่วย
- แนวทางการรักษาปัญหาการนอนหลับในผู้ป่วยโรคสมอง
- สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของปัญหาการนอนหลับในผู้ป่วยโรคสมอง
- ใครมีความเสี่ยง? เกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน
- สาเหตุของภาวะสับสนเฉียบพลันช่วงเย็นหรือพลบค่ำ
- การจัดการ "ภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงวัย" ที่บ้าน
- ผลกระทบของปัญหาการนอนหลับต่อผู้ป่วยและผู้ดูแล
- ปัญหาการนอนหลับที่พบในผู้ป่วยโรคสมอง (รวมภาค)
- เช็ครายชื่อยาที่ทำให้ผู้สูงอายุ “นอนไม่หลับ หลับไม่ดี”
การดูแลแผลกดทับ
- เคล็ดลับการดูแลผู้ป่วย ป้องกันแผลกดทับ
- เช็ค! ขั้นตอนที่ถูกต้อง ทำความสะอาดหลังการขับถ่ายในผู้ป่วยติดเตียง
- การดูแลและป้องกันผู้ป่วยจากแผลกดทับ โดยเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปทุมธานี
108 คำถามตามมาหลังเป็นสโตรก
- คำถามยอดฮิต! ผู้ป่วยจะสามารถหยิบจับสิ่งของได้หรือไม่ จะกลับมาจับได้เมื่อไร
- คำถามยอดฮิต! ต้องฝึกมากแค่ไหน กล้ามเนื้ออ่อนแรงจึงจะดีขึ้น
- ปวดหัวมากแบบนี้ จะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง (สโตรค) หรือไม่
- ทำไมผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจึงเป็นตะคริวบ่อย
- ถามมาตอบไป ไหล่ตกในผู้ป่วยสโตรค เกิดจากอะไร พร้อมข้อแนะนำ
- ใครจำเป็นต้องใส่สายพยุงกันไหล่ตกบ้าง? ข้อแนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
ประชาสัมพันธ์ สิทธิประโยชน์ของผู้ป่วย
- สิทธิประโยชน์ของ “ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง” จากกองทุนประกันสังคม หากทุพพลภาพจะได้รับอะไรบ้าง
- ใครมีสิทธิรับบริการเจาะเลือดถึงบ้าน ฟรี! มาเช็คเลย
- พบหมอออนไลน์ฟรี 42 กลุ่มโรค-อาการ ฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่าย! พร้อมช่องทางการติดต่อ
อุปกรณ์การแพทย์ให้ยืมฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย
- รวม 8 รายชื่อหน่วยงานที่มีอุปกรณ์การแพทย์ให้ “ยืมใช้”
- ยืม “อุปกรณ์ทางการแพทย์” ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ
- ประชาสัมพันธ์ โครงการ “ป่วยให้ยืม” พร้อมช่องทางติดต่อง่ายๆทางออนไลน์
- ยืม “อุปกรณ์ทางการแพทย์” ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย ศูนย์ปันน้ำใจแพทย์นาวี
แชร์เทคนิคการปรับบ้านเพื่อผู้ป่วย
- ตัวอย่าง การปรับบ้านให้เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยที่กำลังฝึกกายภาพ
- 6 เทคนิคจัดบ้าน "เพื่อลดกลิ่นอับในห้องผู้ป่วย"
- วิธีทำความสะอาด"เตียงผู้ป่วย"ให้หอมสะอาดอยู่เสมอ
- อุปกรณ์ตัวช่วยกำจัด "กลิ่นไม่พึงประสงค์" ที่เตียงผู้ป่วย
บทความโดย
หมอมิ้นท์ พญ.วรัชยา วลัยลักษณาภรณ์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสมองและระบบประสาท
สำหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลทางบ้านที่มีคำถาม หรือสงสัยเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยโรคสมอง โรคเส้นเลือดสมองตีบ เส้นเลือดสมองแตก และผู้ป่วยติดเตียง สามารถส่งข้อความคำถามได้ที่เพจ "อยู่ดีมีสุข" หรือทางไลน์ "อยู่ดีมีสุข" นะคะ
หมอและทีมหมอหลายๆท่านจะทะยอยตอบคำถามให้ค่ะ